ร้านอะไรจะปิดก็ได้ แต่ร้านอาหารจะปิดไม่ได้ จริงมั้ยคะ ทีมงาน RainMaker เข้าใจอย่างยิ่งว่าเรื่องกินเรื่องใหญ่ วันนี้เลยได้รวมเบอร์โทรสั่งอาหารในแต่ละร้านมา
ลอรีอัล กรุ๊ป ได้เปิดโครงการให้ความช่วยเหลือ เพื่อสนับสนุนการต่อสู้กับเชื้อไวรัสโคโรนาในหลายภาคส่วน โดยเบื้องต้นได้เริ่มต้นการช่วยเหลือในภูมิภาคยุโรป ซึ่ง ณ ขณะนี้เป็นศูนย์กลางของภาวการณ์ระบาดครั้ง…
ลาซาด้า ส่งแคมเปญ "Lazada 8th Birthday Sale อยู่บ้านนะคนดี เรามีดีลดี๊ดี ส่งให้" 27 มีนาคมนี้ วันเดียวเท่านั้น
แถลงการณ์มาตรการแก้ไขปัญหา COVID-19 จากกระทรวงสาธารณสุข (วันที่ 26 มี.ค.
ไปรษณีย์ไทยพร้อม “ส่งความห่วงใย ส่งให้ สู้ภัย COVID-19...
เรื่องของความเสี่ยงทางธุรกิจไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ไหนก็ย่อมสร้างความกดดันและกังวลใจให้แก่เจ้าของธุรกิจ ดังนั้น การวางแผนเพื่อจัดการความเสี่ยงจึงจำเป็นต้องเรียนรู้เรื่องนี้อย่างชัดเจนกันก่อน โดยบริษัทจำเป็นต้องมองความเสี่ยงไว้ล่วงหน้า ถือว่าเป็นแกนสำคัญที่บริหาร การวางแผนนั้นควรแบ่งไว้อย่างน้อย 3 ระยะ คือ ระยะสั้น (1-3 เดือน) ระยะกลาง (6-10 เดือน) ระยะยาว (1-5 ปี) เพราะเราไม่รู้ว่าปัญหาความเสี่ยงจะเกิดขึ้นตอนไหน จึงควรประเมินและคาดการณ์ไว้หลายรูปแบบ เผื่อว่าเกิดปัญหาลุกลามจะได้ควบคุมอย่างทันท่วงที การบริหารความเสี่ยง เป็นสิ่งที่ผู้บริหารทุกคนต้องเจอ ดังนั้น สิ่งที่ควรทำจึงต้อง การกำหนดวตัถุประสงค์ (Objectives Establishment) การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) การสร้างแผนจัดการ (Risk Management Planning) การติดตามสอบทาน/สื่อสาร (Monitoring & Review) / Communication นอกจากนี้ ปัจจัยเสี่ยงยังแบ่งออกเป็นรายละเอียดย่อย อีก 2 ด้าน คือ ปัจจัยเสี่ยงภายนอก คือ ความเสี่ยงท่ีไม่สามารถควบคุมการเกิดได้โดยองค์กรเอง เช่น เศรษฐกิจ / สังคม / การเมือง …